การถ่ายทอดสดพิธีเปิดและการบรรยายพิเศษ 

 

การปาฐกถาพิเศษ

               

รับชมการถ่ายทอดสดการบรรยายพิเศษผ่าน Face Live: www.facebook.com/rdi.npru 

หรือ ผ่านโปรแกรม ZOOM Cloud Meetings ID : 584 926 8562 Passcode: npru13 

Link Zoom

กำหนดการและตารางนำเสนอบทความ  Download 
 

    

ศ.ดร.นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล
ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
ปาฐกถาเรื่อง “นวัตกรรมวิจัย แบบ New Normal”
Plenary Speaker 1
ศ.พิเศษวิชา มหาคุณ
คณบดี คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
ปาฐกถาเรื่อง “วิกฤตกระบวนการยุติธรรมไทย
ต้องวิจัยอะไร ปฏิรูปอะไร และอย่างไร ”
Plenary Speaker 2
 
คุณแซม ตันสกุล
กรรมการผู้จัดการ บริษัท กรุงศรี ฟินโนเวต จำกัด
ปาฐกถาเรื่อง “Disruptive Technology ประเทศไทย 5.0 และการปรับตัวของประเทศไทย
สู่อนาคต”
Plenary Speaker 3
 
 
 
 
 

แจ้งการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดประชุมวิชาการวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 13 

             เนื่องด้วยที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการจัดงานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 13 ในคราวประชุมเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2564 และตามประกาศจังหวัดนครปฐม  ฉบับที่ 63/2564  เรื่อง  มาตราการป้องกันควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในสถานศึกษาทุกประเภท ประกาศ ณ วันที่ 20 พฤษภาคม 2564 นั้น  เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่กระจายและลดภาวะเสี่ยงจากการระบาดของของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้กับผู้เข้าร่วมประชุมวิชาการฯ ในการนี้คณะกรรมการฯ จึงมีมติเปลี่ยนแปลงการจัดกิจกรรมเป็นรูปแบบออนไลน์ (Online) โดยใช้โปรแกรม ZOOM Cloud Meetings

  •  

  •  
  •  
  • บทความฉบับสมบูรณ์ (Full Papers Proceedings)  Download 
  • เอกสารประกอบการประชุมฯ เล่ม Abstract Proceeding Download  

  • กำหนดการและตารางนำเสนอบทความ  Download 

  • ข้อปฏิบัติสำหรับการนำเสนอผลงานแบบบรรยายและโปสเตอร์ Download 

  • คู่มือการส่งบทความฉบับแก้ไข  Download 

  • เปิดรับบทความฉบับสมบูรณ์ ขยายระยะเวลารับบทความถึงวันที่ 15 พฤษภาคม 2564 

  • ขั้นตอนการส่งบทความ(Full paper)   Download

  • แบบฟอร์มบทความ (Full paper Template)  (แบบภาคบรรยายและภาคโปสเตอร์,ไม่เกิน 8 หน้า A4) Download

  • ลงทะเบียน ผู้ที่จะส่งผลงาน กรุณาลงทะเบียนในชื่อของท่าน

  • เข้าสู่ระบบ ผู้ลงทะเบียนเข้าสู่ระบบเพื่อส่งผลงาน

  • วันที่จัดงานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 13 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม วันที่ 8 - 9 กรกฎาคม 2564 


 


 

การส่งบทความในระบบงานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 13 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

 


หลักการและเหตุผล

             มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม มีภารกิจที่สำคัญภารกิจหนึ่งคือภารกิจงานวิจัย โดยมหาวิทยาลัย มีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์ และบุคลากรดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนางานท้องถิ่น สังคม และประเทศชาติ นอกจากนั้นมหาวิทยาลัยยังจัดให้มีงานประชุมวิชาการอย่างต่อเนื่อง โดยครั้งนี้จัดเป็นครั้งที่ 13 ภายใต้แนวคิด การวิจัย สร้างดุลยภาพชีวิตเพื่อรองรับ New Normal ในระหว่างวันที่ 8 – 9 กรกฎาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนทางวิชาการระหว่างคณาจารย์ นักวิจัย นักวิชาการ และนักศึกษา ทั้งจากหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย เพื่อนำเสนอแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ทางวิชาการจากงานวิจัย อันจะนำไปสู่แนวคิด และแนวปฏิบัติ และเกิดเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการด้านวิจัยในระดับชาติและนานาชาติ ทั้งนี้ ย่อมชี้ชัดถึงความเป็นเลิศ อันเป็นเป้าหมายสูงสุดของสถาบันอุดมศึกษา และสอดรับกับหลักการของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.) ที่กำหนดไว้อย่างชัดเจนว่า การตีพิมพ์ผลงานของคณาจารย์ทางวิชาการที่มีมาตรฐานเป็นเกณฑ์ชี้วัดที่ประกันคุณภาพอันสำคัญประการหนึ่งของสถาบันอุดมศึกษา

กำหนดการ

กิจกรรม กำหนดการ
เปิด - ปิดรับบทความ (Full Paper)
ขยายระยะเวลารับบทความ
ตั้งแต่บัดนี้  – 31  มีนาคม  2564 30 เมษายน 2564
25 พฤษภาคม 2564
ส่งบทความประเมิน
จนถึง 20 พฤษภาคม 2564
วันสุดท้ายการชำระค่าลงทะเบียน (Early Bird Rate)
1 25  พฤษภาคม  2564
แจ้งผลการพิจารณาบทความ
25 - 31 พฤษภาคม  2564
ส่งบทความแก้ไขฉบับสมบูรณ์ 
16 – 31 พฤษภาคม 2564
วันสุดท้ายการชำระค่าลงทะเบียน (Normal Rate)
26 พฤษภาคม – 9  กรกฎาคม  2564
นำเสนอผลงาน
8  – 9  กรกฎาคม  2564


วัตถุประสงค์

1. เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ทางวิชาการจากงานวิจัย นำไปพัฒนาต่อยอดงานวิจัย อันจะนำไปสู่แนวคิด และแนวปฏิบัติของอาจารย์และบุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมกับอาจารย์หรือนักวิจัยหน่วยงานภายนอก ตลอดจนหน่วยงานทั้งภาครัฐบาลและภาคเอกชน 
2. เพื่อสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการให้มีผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ และเกิดการยอมรับในแวดวงวิชาการ
3. เพื่อส่งเสริมและสร้างเครือข่ายงานวิชาการงานวิจัยและสถาบันการศึกษาทั้งในประเทศ
 

สาขาที่เปิดให้นำเสนอผลงาน

1.ชีววิทยา เกษตร และอาหาร
2.วิทยาศาสตร์กายภาพ 
3.คณิตศาสตร์และสถิติ   
4.คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.วิศวกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์  และการสื่อสาร
6.คอมพิวเตอร์ศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
7.การวิจัยเชิงสุขภาพ สร้างดุลยภาพชีวิตในยุค New Normal
8.บริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์   
9.นิเทศศาสตร์            
10.มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
11.รัฐประศาสนศาสตร์และนิติศาสตร์
12.อาเซียนศึกษา และการระหว่างประเทศ
13.ปรัชญา ศาสนา และศิลปวัฒนธรรม
14.การท่องเที่ยว และอุตสาหกรรมบริการ 
15.บริหารการศึกษา
16.หลักสูตรและการสอน
17.วิจัยการศึกษาและงานประจำสู่งานวิจัย (R to R)
18.การวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
19.การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น
20.สาธารณสุข สุขภาวะชุมชน และอนามัยสิ่งแวดล้อม
 

รูปแบบการจัดกิจกรรม

1. การบรรยายพิเศษทางวิชาการ
2. การนำเสนอผลงานภาคบรรยาย (Oral Presentation)
3. การนำเสนอผลงานภาคโปสเตอร์ (Poster Presentation)