ผลงานวิจัยที่ได้รับรางวัลระดับชาติ/นานาชาติ
ผลงานวิจัยด้านแก้วถูกนำไปใช้ในด้านต่างๆในอุตสาหกรรมและเชิงพาณิชย์ เช่นการปรับปรุงคุณภาพอัญมณีด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ การเตรียมอัญมณีสังเคราะห์ การหาวัตถุดิบใหม่ในการผลิตแก้วทดแทนทราย (เช่นแกลบและชีวมวลต่างๆ) การแก้ปัญหาแก้วสีในระดับอุตสาหกรรม การผลิตแก้วกำบังรังสีซึ่งใช้ได้จริงในห้องรังสีวินิจฉัย การพัฒนาแก้วเปล่งเเสงสำหรับเป็นวัสดุโตโตนิกส์ เเละ ซินทิลเลเตอร์ เป็นต้น ผลงานที่สามารถใช้ประโยชน์จริงดังกล่าวมาจากการวิจัยอย่างต่อเนื่อง ซึ่งได้รับรางวัลในระดับชาติและนานาชาติ และ ยังได้เป็นที่ปรึกษาให้กับบริษัทเอกชนที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
- รางวัลชนะเลิศประเภท Professional vote ในงานนิทรรศการโครงการวิจัยและพัฒนาวิสาหกิจของนักศึกษาปริญญาตรี (EnPUS2007) โครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษาการผลิตแก้วโดยใช้ทรายในท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม” โดยสำนักงานสนับสนุนกองทุนวิจัย (สกว.) ณ ศูนย์การค้าสยามพารากอน วันที่ 20-22 เมษายน 2550 (หัวหน้าโครงการ)
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ประเภท Professional vote ในงานนิทรรศการโครงการวิจัยและพัฒนาวิสาหกิจของนักศึกษาปริญญาตรี (EnPUS2008) โครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษาการผลิตแก้วโดยใช้แกลบในท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม” โดยสำนักงานสนับสนุนกองทุนวิจัย (สกว.) ณ ศูนย์การค้าสยามพารากอน วันที่ 28-30 มีนาคม 2551 (หัวหน้าโครงการ)
- รางวัลชมเชยประเภท Professional vote ในงานนิทรรศการโครงการวิจัยและพัฒนาวิสาหกิจของนักศึกษาปริญญาตรี (EnPUS2008) โครงการวิจัยเรื่อง “การสร้างเเก้วดรรชนีหักเหสูงปลอดตะกั่วจากทรายท้องถิ่น” โดยสำนักงานสนับสนุนกองทุนวิจัย (สกว.) ณ ศูนย์การค้าสยามพารากอน วันที่ 28-30 มีนาคม 2551 (หัวหน้าโครงการ)
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ประเภท Professional vote ในงานนิทรรศการโครงงานอุตสาหกรรมและวิจัยสำหรับนักศึกษาปริญญาตรี (IRPUS2008) โครงการวิจัยเรื่อง “การพัฒนาอัญมณีเทียมจากทรายท้องถิ่นสำหรับผลิตภัณฑ์เครื่องประดับ” โดยสำนักงานสนับสนุนกองทุนวิจัย (สกว.) ณ ศูนย์การค้าสยามพารากอน วันที่ 28-30 มีนาคม 2551 (หัวหน้าโครงการ)
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ประเภท Popular vote ในงานนิทรรศการโครงงานอุตสาหกรรมและวิจัยสำหรับนักศึกษาปริญญาตรี (IRPUS2008) โครงการวิจัยเรื่อง “การพัฒนาอัญมณีเทียมจากทรายท้องถิ่นสำหรับผลิตภัณฑ์เครื่องประดับ” โดยสำนักงานสนับสนุนกองทุนวิจัย (สกว.) ณ ศูนย์การค้าสยามพารากอน วันที่ 28-30 มีนาคม 2551 (หัวหน้าโครงการ)
- รางวัลชนะเลิศ (ระดับประเทศ) โครงการรางวัลนวัตกรรมแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 8 สาขาวิทยาศาสตร์ โครงการวิจัยเรื่อง “การพัฒนาอัญมณีเทียมจากทรายท้องถิ่นสำหรับผลิตภัณฑ์เครื่องประดับ” สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยและสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ ณ ศูนย์ประชุมเเห่งชาติสิริกิตติ์ 3-5 ตุลาคม 2551 (หัวหน้าโครงการ)
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 (ระดับประเทศ) โครงการรางวัลนวัตกรรมแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 9 สาขาวิทยาศาสตร์ โครงการวิจัยเรื่อง “การสร้างนิลเทียมจากขี้เถ้าแกลบเหลือใช้” สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยและสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ ณ ศูนย์ประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี 1-5 ตุลาคม 2552 (หัวหน้าโครงการ)
- รางวัลนักวิจัยดีเด่น งานประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ครั้งที่ 2 (14 มกราคม 2554)
- รางวัลนักศึกษาเก่าดีเด่น มหาวิทยาลัยศิลปากรประจำปี 2554 ประเภทผู้ส่งเสริมการศึกษาวิชาการ (12 ตุลาคม 2554)
- รางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ : รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น (รางวัลระดับดี) ประจำปี 2558 จากโครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนาอัญมณีเทียมเปลี่ยนสีได้สำหรับผลิตภัณฑ์เครื่องประดับ
- Best Innovation Awards from “Development of Color Changed Imiation Gemstone for Ornament Product” 43rd International Exhibition of Innovation of Geneva”, 15-19 April 2015, Pallexpo, Geneva, Switzerland
- MEDAILLE D’ARGENT SILVER MEDAL SILBERMADAILLE, “Development of Color Changed Imiation Gemstone for Ornament Product”, 43rd International Exhibition of Innovation of Geneva, 15-19 April 2015, Pallexpo, Geneva, Switzerland
- รางวัลชนะเลิศถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การประกวดนวัตกรรมนาโนเทคโนโลยี ระดับประเทศ ครั้งที่ 7 ประเภทนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ เรื่อง “การพัฒนาสูตรแก้วสีแดงโดยไม่ตอ้งผ่านกระบวนการให้ความร้อนครัง้ทีส่องเพือ่การประหยัดพลังงาน” 29-30 สิงหาคม 2559 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
- รางวัลชมเชย การประกวดนวัตกรรมนาโนเทคโนโลยี ระดับประเทศ ครั้งที่ 7 ประเภทนวัตกรรมเพื่อประโยชน์ต่อสาธารณชนเรื่อง “การพัฒนาแก้วกำบังรังสีชนิดใหม่ผสมทีผสมอนุภาคนาโนบิสมัท” 29-30 สิงหาคม 2559 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
- Semi Grand Prize, “Color changed artificial jewelry from biomass fly ash for ornament product”, Seoul International Invention Fair 2016, 1-4 December 2016, COEX, Seoul, Korea
- Special award (Taiwan Invention Association) “Color changed artificial jewelry from biomass fly ash for ornament product”, Seoul International Invention Fair 2016, 1-4 December 2016, COEX, Seoul, Korea
- รางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ : รางวัลผลงานวิจัย (รางวัลระดับดีมาก) ประจำปี 2560 จากโครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนาแก้วปลอดตะกั่วสำหรับใช้เป็นวัสดุกำบังรังสี